ครูสอนภาษาท่านหนึ่งกล่าวว่า การเรียนภาษามันต้องง่าย ๆ ตรงไปตรงมา
เพราะภาษาหรือประโยคคำพูด ไม่ได้เริ่มต้นมาจากนักปราชญ์ บัณฑิต หรือบัญญัติสวรรค์
แต่เริ่มต้นจากชาวบ้านธรรมดา คือ มีประธาน มีกิริยา แล้วก็มีกรรม
ท่านก็ยกตัวอย่างว่า เช่น ฉันกินข้าว และหลังจากนั้นก็มีผูกประโยคกันให้ซับซ้อน
ให้ดูเลิศหรูสละสลวยกันขึ้นมา แต่จริง ๆ ก็มีความหมายแค่ฉันกินข้าว
การปฏิบัติธรรมก็เช่นเดียวกัน
จริง ๆ
แล้วมันเรียบง่าย สบาย ๆ
เข้าถึงได้โดยไม่ยาก
ทำใจให้อินโนเซนต์เหมือนเด็ก
ๆ ง่าย ๆ
เดี๋ยวก็เข้าถึงได้
แล้วสิ่งที่เป็นความลับ
เหลือเชื่อ เช่น เรื่องนรก สวรรค์ นิพพาน ก็จะถูกเปิดเผยออกมา สว่าง กระจ่าง
เหมือนเราชักม่านแห่งความมืดในยามรัตติกาล ให้แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์
ได้โคจรทำความสว่างแก่โลก มันก็ง่าย ๆ แค่นั้นเอง
คุณครูไม่ใหญ่
๓๐ พฤษภาคม พ.ศ.
๒๕๔๒
วันอังคารที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
Related Posts
สิ่งที่เกื้อหนุนการปฏิบัติธรรม สิ่งที่เกื้อหนุนการปฏิบัติธรรม ที่จะทำให้ใจเราหยุดนิ่งได้เร็ว
ประการที่
อารมณ์สบาย อารมณ์ที่ปล่อยวาง
ธรรมทายาทหญิง
: พี่เลี้ยง พระอาจารย์แนะนำให้ตรึกองค์พระตลอดเวลา
แต่ก็ตรึกองค์พระบ้าง
ตรึกดวงแก้วบ้าง &nbs
นั่งแล้วรู้สึกตัวเคลื่อนเข้าไป
ผู้นำบุญ : นั่งธรรมะแล้วบางครั้งเหมือนใจเคลื่อนเข้าไป
แต่ไม่มีองค์พระ ไม่มีดว
ดูเฉยๆ
ธรรมทายาทหญิง
:
นั่งสมาธิแล้ว พอจิตใจสงบ ก็เกิดความสว่างอยู่แวบหนึ่ง จากนั้นก็มีสิ่งหนึ่งคล้าย ๆ กั
สุขอย่างสมณะ
ผู้ที่เขาเข้าถึงจุดที่หยุดนิ่งจริง
ๆ
เขาจะสงบ
สะอาด สว่าง
อยากอยู่นิ่ง
ๆ ...
เพื่อจะศึกษาความรู้ภายในให้ยิ
ทำให้ถูกหลักวิชชา
ตั้งใจปฏิบัติธรรมกันให้ดี ทำให้ถูกหลักวิชชา อย่าให้ตึงเกินไ
ความสำคัญของ ฐานที่ ๗
ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ ซึ่งเป็นที่เกิด ที่ดับ ที่หลับ
ที่ตื่นของเรา มาเกิดกระทั่งไปเกิดหรือตาย
ทั้งหลับทั้งตื่นก็
ความละเอียดจะค่อยๆสั่งสม
การฝึกใจให้หยุดนิ่งเป็นกรณียกิจ
เป็นกิจที่สำคัญสำหรับการมาเกิดเป็นมนุษย์ เพราะจะทำให้เราพบความสุขที่แท้จริง
และ
ฝึกหยุดนิ่งเพื่อตัวเราเอง ให้ความสำคัญต่อการฝึกใจให้หยุดนิ่ง
ที่ศูนย์กลางกาย
ความสม่ำเสมอคือหัวใจ
คำถาม : อดีตลูกเคยปฏิบัติธรรม มีประสบการณ์ที่ดีกว่านี้
คือ ได้อารมณ์สบาย รู้สึกไม่มีตัวตน หลังจากนั้นก็ปฏิบัติน